ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

แฟรงก์ แลมพาร์ด

แฟรงก์ เจมส์ แลมพาร์ด โอบีอี (อังกฤษ: Frank James Lampard OBE) เป็นนักฟุตบอลชาวอังกฤษ ปัจจุบันเล่นให้กับแมนเชสเตอร์ซิตีในพรีเมียร์ลีก โดยเขาเป็นลูกชายของแฟรงก์ แลมพาร์ด (ซีเนียร์) อดีตนักเตะทีมชาติอังกฤษของเวสต์แฮมยูไนเต็ด โดยที่มีไอ้จ้อนยาวถึง9นิ้วเลยทีเดียว

แฟรงก์ แลมพาร์ด มีชื่อเต็มว่า แฟรงก์ เจมส์ แลมพาร์ด เกิดวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1978 ที่กรุงลอนดอน ในตระกูลนักฟุตบอล โดยพ่อของเขาคือ แฟรงก์ แลมพาร์ด (ซีเนียร์) เป็นอดีตกองหลังทีมชาติอังกฤษ ลุงของเขาคือ แฮร์รี เรดแนปป์ ปัจจุบันเป็นผู้จัดการสโมสรฟุตบอลควีนส์ปาร์ค เรนเจอร์ส และเป็นลูกพี่ลูกน้องกับ เจมี เรดแนปป์ เป็นอดีตนักเตะของเซาแทมป์ตันเช่นเดียวกัน

การศึกษาจบจากมหาวิทยาลัยลอนดอน เขาเป็นหนึ่งในอดีตนักเตะเยาวชนของ เวสต์แฮมยูไนเต็ด และเคยถูกยืมตัวไปเล่นกับ สวอนซีซิตี ใน ค.ศ. 1995 และย้ายมาร่วมสโมสร เชลซี ใน ค.ศ. 2001 ติดทีมชาติอังกฤษครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1999 เป็นมิดฟิลด์ที่ได้รับการยกย่องอย่างมาก แม้ว่าผลงานในตอนนี้จะแผ่วลงไปบ้าง ไม่ว่าจะกับทีมต้นสังกัดหรือทีมชาติอังกฤษ จากที่มีข่าวคราวว่าเล่นไม่เข้าขากับสตีเวน เจอร์ราร์ด กัปตันทีมลิเวอร์พูล น่าแปลกใจที่ทั้งสองเคยสนิทกัน แต่แม้กระทั่งงานแต่งงานของเจอร์ราร์ด ก็ไม่มี แลมพาร์ด ในงานเลี้ยงนั้น เมื่อ 22 มิถุนายน 2007 ที่ผ่านมา แลมพาร์ดเป็นกองกลางที่ทำประตูได้ 200 ประตู ซึ่งมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของสโมสร และเป็นกองกลางคนที่สองต่อจากแมธทิว ทริสเซอร์ ที่ทำประตูมากว่า 100 ประตูในพรีเมียร์ลีก นอกจากนี้ แลมพาร์ดยังทำสถิติเป็นผู้เล่นคนเดียวที่ทำประตูในพรีเมียร์ลีกมากกว่า 10 ประตูติดต่อกันถึง 9 ฤดูกาลอีกด้วย แฟรงก์ แลมพาร์ด เริ่มต้นอาชีพฟุตบอลกับสโมสรเวสต์แฮมยูไนเต็ด โดยลงเล่นกับทีมเยาวชนตั้งแต่ ปี 1993 และสร้างผลงานได้ดีพอสมควร โดยเขายังเป็นลูกชายของแฟรงก์ แลมพาร์ด (ซีเนียร์) ผู้ช่วยคนสำคัญของแฮร์รี เรดแนปป์ กุนซือของเวสต์แฮมในขณะนั้นซึ่งเป็นลุงของเขา

1994/1995 เซ็นสัญญาเป็นนักเตะกับสโมสรเวสต์แฮมยูไนเต็ด แต่เขาก็ยังไม่ได้ลงเล่นในชุดใหญ่ โดยลงเล่นในทีมสำรองของสโมสรอื่น

1995/1996 แล้วโอกาสสัมผัสเกมกับทีมชุดใหญ่ก็เกิดขึ้นในฤดูกาลนี้ โดยลงเล่นเป็นตัวสำรองในเกมพรีเมียร์ชิพ และเขาลงเล่นให้เวสต์แฮม 2 นัดก็ถูกปล่อยตัวให้สวอนซีซิตี ทีมในดิวิชัน 2 ยืมตัวไปใช้งาน โดยลงเล่นกับสวอนซี 9 นัด ทำได้ 1 ประตู

1996/1997 หลังจากกลับมาจากการยืมตัวเขาก็ได้ลงเล่นให้ทีมมากขึ้นในฤดูกาลต่อมา โดยลงเล่นอีก 13 นัด แต่ก็มาโชคร้ายกระดูกขาขวาแตกในนัดปะทะกับแอสตันวิลลา ทำให้ต้องพักยาว

1997/1998 กลับมาเล่นให้ทีมอีกครั้ง โดยยึดตำแหน่งตัวจริงได้สำเร็จ และลงเล่นทั้งหมด 31 นัด ทำได้ 4 ประตู กลายเป็นมิดฟิลด์ดาวรุ่งขวัญใจกองเชียร์ทีมขุนค้อน จากผลงานอย่างต่อเนื่องกับ[เวสต์แฮม]ทำให้เขามีชื่อติดทีมชาติอังกฤษชุดเล็ก

1998/1999 ยังคงเล่นกับ[เวสต์แฮม]อย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ผลงานของทีมจะไปได้ไม่ไกลนัก แต่ชื่อของแฟรงก์ แลมพาร์ดก็เริ่มเข้าไปอยู่ในใจของบรรดากุนซือทั้งหลาย โดยเขาลงเล่นให้[เวสต์แฮม] 38 นัด ทำได้ 5 ประตู

1999/2000 ฤดูกาลนี้เวสต์แฮมผ่านเข้าไปเล่นยูฟ่าคัพ โดยผ่านการคัดเลือกจากถ้วยอินเตอร์โตโตคัพด้วย ซึ่งแลมพาร์ดก็ยังเล่นให้ทีมอย่างต่อเนื่อง โดยเขาลงเล่นทั้งสิ้น 34 นัด ทำได้ 7 ประตู และเขาก็มีชื่อติดทีมชาติอังกฤษชุดใหญ่ โดยเขาลงเล่นครั้งแรกในนัดกระชับมิตรกับเบลเยียมที่สเตเดียมออฟไลต์ (สนามเหย้าของซันเดอร์แลนด์) ในวันที่ 10 ตุลาคม 1999

2000/2001 เขาเป็นนักเตะที่ผลงานคงเส้นคงวามากที่สุดคนหนึ่งในพรีเมียร์ชิพ โดยปีนี้เขาลงเล่น 30 นัด ทำได้ 7 ประตู แต่ผลงานของทีมก็ไม่น่าประทับใจนัก ซึ่งหลังจบฤดูกาลมีหลายทีมต่างให้ความสนใจในตัวเขา และก็เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ขึ้นในทีม พ่อและลุงของเขาถูกสโมสรไล่ออก ทำให้เขาเริ่มไม่มีความสุขกับทีมต้นสังกัด และก็เป็นกุนซือ เกลาดีโอ รานีเอรี ของเชลซีที่เสนอเงิน 11 ล้านปอนด์เพื่อซื้อตัวเขาไปร่วมทีม

2001/2002 เขากลายมาเป็นนักเตะของเชลซีโดยเซ็นสัญญาในวันที่ 14 มิถุนายน 2001 ด้วยค่าตัว 11 ล้านปอนด์ และเริ่มต้นชีวิตการค้าแข้งที่ท้าทายใหม่อีกครั้ง โดยเขาลงเล่นเป็นกองกลางเคียงข้างกับแอมานุแอล เปอตี ซึ่งถือว่าเป็นคู่กองกลางที่แข็งแกร่งมาก เขาพาทีมเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศเอฟเอคัพในฤดูกาลแรกของทีมสิงโตน้ำเงินคราม แต่ก็ต้องผิดหวังเมื่อนัดชิงพ่ายกับอาร์เซนอล ซึ่งฤดูกาลนี้เองที่อาร์เซนอลคว้าดับเบิลแชมป์เป็นครั้งที่สอง โดยแลมพาร์ดลงเล่นในลีกทั้งสิ้น 37 นัด ทำได้ 5 ประตู และ 1 ประตูจาก 4 เกมในยูฟ่าคัพ ถึงแม้ว่าฤดูกาลนี้เขาจะโชว์ผลงานได้ยอดเยี่ยม แต่ก็ไม่มีชื่อติดทีมชาติไปร่วมฟุตบอลโลก 2002 ที่เกาหลีใต้และญี่ปุ่น

2002/2003 จากความผิดหวังที่ไม่ได้ร่วมทีมไปฟุตบอลโลกทำให้เขาตั้งใจเล่นมากขึ้นกว่าเดิม และพยายามอย่างยิ่งที่จะไปยึดตัวจริงในทีมชาติอังกฤษ ซึ่งเขาก็ทำได้ดีเลยทีเดียวโดยพาทีมคว้าอันดับ 4 ของลีก แย่งตำแหน่งการไปเล่นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกให้ทีมได้สำเร็จ โดยฤดูกาลนี้เขาลงเล่นในลีก 38 นัด ทำได้ 6 ประตู และ 1 ประตูจาก 2 เกมในยูฟ่าคัพ จากผลงานที่ดีวันดีคืนของเขาทำให้เขามีโอกาสก้าวขึ้นไปติดทีมชาติบ่อยครั้งขึ้น

2003/2004 ปีนี้เขาโชว์ฟอร์มได้ดีพอสมควร ทั้งในนามทีมชาติ และกับสโมสรโดยเขาลงเล่นในลีก 38 นัด ทำได้ 10 ประตู และ 4 ประตูจาก 14 เกมในยูฟ่าแชมเปียนลีก เขาได้รางวัลอันดับ 2 นักเตะยอดเยี่ยมของ PFA โดยเป็นรองตีแยรี อ็องรี นักเตะระดับโลกของอาร์เซนอล และปีนี้เองเขายังทำประตูในนามทีมชาติเป็นครั้งแรกในนัดกระชับมิตรพบกับโครเอเชีย ในวันที่ 20 สิงหาคม 2003

ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป หรือยูโร 2004 ที่โปรตุเกสปีนี้เขามีชื่อเป็นตัวจริง ในฐานะนักเตะคนสำคัญของทีม เขาลงเล่นนัดแรกพบฝรั่งเศส และอังกฤษชนะไป 2-1 โดยแลมพาร์ด ทำได้ 1 ประตู ซึ่งนัดต่อมาพบ สวิตเซอร์แลนด์ เขาก็พาทีมชนะไป 3-0 โดยต่อมาพบกับ โครเอเชีย และแลมพาร์ดก็ยิงอีก 1 ประตูในชัยชนะ 4-2 แต่แล้วอังกฤษก็ต้องตกรอบต่อมาด้วยฝีมือเจ้าภาพ ในการดวลจุดโทษ

2004/2005 ปีนี้เองเชลซีมีการเปลี่ยนแปลงอีกครั้งโดยมาของโชเซ โมรีนยู ผู้จัดการทีมคนใหม่ซึ่งพกดีกรีมามากมายทั้งแชมป์ลีกโปรตุเกส แชมป์ยูฟ่าคัพ และยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก เขาเปลี่ยนแปลงทีมครั้งใหญ่โดยซื้อนักเตะใหม่เข้ามาเสริมมากมาย แต่แฟรงก์ แลมพาร์ดก็ยังเป็นนักเตะคนสำคัญของทีมรวมดาราโลกอยู่ ซึ่งก็ไม่ได้ทำให้ทีมผิดหวังเขาพาทีมขึ้นคว้าแชมป์ลีกสูงสุดของอังกฤษ และทะลุไปถึงรอบ 4 ทีมสุดท้ายของแชมป์เปียนลีกแต่ก็พ่ายกับลิเวอร์พูลซึ่งเป็นแชมป์ของแชมป์เปียนลีกในเวลาต่อมาไปด้วยประตูคาใจของแฟนเชลซีทั่วโลก นอกจากนี้ยังพาทีมได้แชมป์ลีกคัพอีกด้วย โดยในฤดูกาลนี้เขาลงเล่นทั้งสิ้น 38 นัด ทำได้ 13 ประตู และ 4 ประตูจาก 12 เกมในยูฟ่าแชมเปียนลีก

2005/2006 เขายังโชว์ฟอร์มได้ดีอย่างสม่ำเสมอ พาต้นสังกัดขึ้นสู่จ่าฝูงพรีเมียร์ลีก ด้วยคะแนนท่วมท้น และยังยิงประตูอย่างต่อเนื่อง โดยทำลายสถิติลงสนามติดต่อกันยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์พรีเมียร์ชิพของเดวิด เจมส์ที่ทำไว้ 159 นัดลงอย่างสิ้นเชิง โดยฤดูกาลนี้เขาทำได้ 20 ประตู เป็นประตูจากพรีเมียร์ลีก 16 ประตู จากการลงเตะ 35 นัด ซึ่งสูงที่สุดในบรรดากองกลางจาก[[พรีเมียร์ลีก] และ 2 ประตูจากลีกคัพและอีก 2 ประตูจากยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก และพาเชลซีได้แชมป์[[พรีเมียร์ลีก] อีกสมัย

2006/2007 ปีนี้เขาก็ยังยิงประตูได้อย่างต่อเนื่อง ทำได้ถึง 21 ประตูจากพรีเมียร์ลีก 11 ประตู จากการลงเตะ 36 นัด เอฟเอคัพ 6 ประตู ลีกคัพ 3 ประตู ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 1 ประตู

2007/2008 ในปีนี้อาจเป็นปีที่โชคไม่ค่อยดีสำหรับเขา เนื่องจากมีอาการบาดเจ็บและสูญเสียมารดา แต่ก็ยังสามารถทำประตูสำคัญได้จากจุดโทษในนัดเจอลิเวอร์พูล เกมยูฟ่าแชมเปียนลีกรอบรองชนะเลิศ และฤดูกาลนี้เขาทำประตูได้ถึง 20 ประตู จากพรีเมียร์ลีก 10 ประตูจากการลงเตะ 23 นัด เอฟเอคัพ 2 ประตู ลีกคัพ 4 ประตู และยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 4 ประตู

2008/2009 เขาต่อสัญญาใหม่ออกไปอีก 5 ปี และยังรักษามาตรฐานการเล่นได้อย่างดี ทำประตูในทุกรายการ 20 ประตู จากพรีเมียร์ลีก 12 ประตู จากการลงเตะ 37 นัด ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 3 ประตู ลีกคัพ 2 ประตู และเอฟเอคัพ 3 ประตู และเป็นประตูสำคัญให้ทีมกลับมาเอาชนะเอฟเวอร์ตันคว้าแชมป์ไปในที่สุด ด้วยฟอร์มของเขา ทำให้ได้รับการโหวตให้เป็นนักฟุตบอลยอดเยี่ยมของเชลซี ประจำฤดูกาลนี้

2009/2010 เขาสามารถคว้าดับเบิลแชมป์กับเชลซีเป็นสมัยแรกของสโมสรได้สำเร็จ โดยเป็นแชมป์พรีเมียร์ลีกและเอฟเอคัพ โดยยิงไปทั้งสิ้น 27 ประตูรวมทุกรายการในตำแหน่งกองกลาง

2010/2011 เป็นฤดูกาลที่ย่ำแย่สำหรับเขา ด้วยอาการบาดเจ็บที่รบกวนทำให้ในฤดูกาลนี้เขาได้ลงเล่นแค่ 32 เกม ยิงได้ 13 ประตู รวมทุกรายการ โดยแบ่งเป็นในพรีเมียร์ลีก 10ประตู และเอฟเอคัพ 3 ประตู

2014/2015 แลมพาร์ดได้ย้ายออกจากเชลซี สโมสรที่เขาประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียงไปยังนิวยอร์กซิตี ในเมเจอร์ลีก สหรัฐอเมริกา แต่ทว่ายังมิได้ทันได้ลงเล่นให้กับต้นสังกัด ก็ถูกแมนเชสเตอร์ซิตีขอยืมตัวกลับมาเล่นในพรีเมียร์ลีก อังกฤษ ทันที พร้อมกับได้ประกาศยุติการเล่นให้กับทีมชาติไป โดยทำสถิติติดทีมชาติทั้งสิ้น 106 นัด ยิงประตูได้ทั้งหมด 29 ลูก

แลมพาร์ดลงเล่นให้แมนเชสเตอร์ซิตีครั้งแรก ในนัดที่พบกับอาร์เซนอล ที่สนามเอมิเรตส์สเตเดียม แต่ปรากฏว่าถูกใบเหลืองในนาทีที่ 22 และถูกเปลี่ยนตัวออกเมื่อหมดครึ่งแรก

แลมพาร์ดลงเล่นให้แมนเชสเตอร์ซิตีนัดที่สอง ในนัดที่พบกับเชลซี ทีมเก่าของตัวเอง ที่สนามเอมิเรตส์สเตเดียม แต่ปรากฏว่าผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ซิตีถูกใบแดงในนาทีที่ 66 จึงทำให้เชลซีขึ้นนำก่อน 1-0 ในนาทีที่ 71 จนกระทั่งถึงช่วงท้ายในนาทีที่ 85 แลมพาร์ดทำประตูตีเสมอให้กับทีม ช่วยให้ผลการแข่งขันกลับมาเสมอได้สำเร็จ


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301